Tumgik
#ขั้นตอนการรักษาข้อเข่าเสื่อม
suckseed20 · 2 months
Text
การรักษาข่้อเข่าเสื่อม
#ข้อเข่าเสื่อม เป็นอาการที่เกิดจากความเสื่อมสภาพและการสึกหรอจากการใช้งานของข้อเข่า อาการข้อเข่าเสื่อมไม่ได้เกิดในเฉพาะผู้สูงวัยเท่านั้น แต่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกวัย หากมีการใช้งานข้อเข่าไม่ถูกต้อง หรือใช้งานหนักมากเกินไป
รักษาข้อเข่าเสื่อม
ขั้นตอนการ รักษาข้อเข่าเสื่อม https://bonefit-rehab.com/check-list-5-%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1/
0 notes
vape123us · 5 months
Text
การรักษาข้อเข่าเสื่อม ของ "ครูอ้อย" จิระวดี อิศรางกูล ณ อยุธยา
ครูอ้อยได้เข้ามารับการรักษาข้อเข่าเสื่อมโดยไม่ต้องผ่าตัดกับหมอนิก คุณหมอจึงเลือกใช้เทคโนโลยีชีวโมเลกุลในการสร้างผิวข้อขึ้นมาใหม่ด้วย PRP หรือ Platelet-Rich Plasma เป็นวิธีการรักษาอาการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ หรือซ่อมแซมส่วนที่เสียหายของร่างกายด้วยการใช้ เกล็ดเลือด (ของตัวเอง) มาทำให้มีความเข้มข้นสูงกว่าเกล็ดเลือดในกระแสโลหิตทั่วไป 3 – 4 เท่า โดยเป็นเกล็ดเลือดเข้มข้นที่เหมาะสมในการใช้ในการรักษา ฉีดกลับไปยังบริเวณที่มีการบาดเจ็บ อักเสบ หรือเสื่อมสภาพของร่างกายในบริเวณนั้น ๆ เพื่อเปลี่ยนระยะเข่าจากที่เสื่อมไปแล้วให้เรียบขึ้น ลื่นขึ้น รวมถึงช่วยให้อาการปวดหัวเข่าดีขึ้น 
ดูคลิกวิดีโอที่นี้  https://bonefit-rehab.com/%e0%b8%a7%e0%b8%b5%e0%b8%94%e0%b8%b4%e0%b9%82%e0%b8%ad%e0%b8%a3%e0%b8%b5%e0%b8%a7%e0%b8%b4%e0%b8%a7/
0 notes
gobthings · 8 days
Text
วิธีรักษาข้อเข่าเสื่อมทั้งแบบผ่าตัดและไม่ผ่าตัด
Tumblr media
การรักษาข้อเข่าเสื่อมหรือรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมสามารถแบ่งออกเป็นหลายขั้นตอนและวิธีการต่างๆ โดยแพทย์จะพิจารณาจากอาการและระดับความรุนแรงของโรคเพื่อเลือกวิธีการรักษาที่เหมาะสมที่สุด
ขั้นตอนการรักษาข้อเข่าเสื่อม
การรักษาแบบไม่ใช้ยา
        การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและวิถีชีวิต: การลดน้ำหนักเพื่อลดภาระที่ข้อเข่าต้องรับ, การหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้ข้อเข่าต้องรับแรงกระแทกมาก
        การออกกำลังกาย: การทำกายภาพบำบัดเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อรอบข้อเข่า เพิ่มความยืดหยุ่น และการฝึกการทรงตัว
การรักษาด้วยยา
        ยาแก้ปวดและยาต้านการอักเสบ: เช่น พาราเซตามอล ไอบูโพรเฟน หรือ นาพรอกเซน เพื่อลดอาการปวดและการอักเสบ
        การฉีดยาลงในข้อ: การใช้สารลดการอักเสบเช่น คอร์ติโคสเตียรอยด์ หรือการฉีดไฮยาลูโรนิค แอซิด เพื่อช่วยเพิ่มการหล่อลื่นภายในข้อและลดการเสียดสี
การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด
        การผ่าตัดกระดูกอ่อน: เช่น การทำอาร์โทรสโคปีเพื่อกำจัดเนื้อเยื่อที่เสียหายหรือการตัดกระดูกอ่อนที่ฉีกขาดออก
        การผ่าตัดเปลี่ยนข้อ: สำหรับกรณีที่มีความเสียหายของข้อเข่าอย่างรุนแรง การเปลี่ยนข้อเข่าเทียมอาจเป็นทางเลือกที่เหมาะสม
การใช้เครื่องช่วยเหลือ
        การใช้ไม้เท้าหรือเครื่องช่วยเดิน: เพื่อลดภาระที่ข้อเข่าต้องรับและช่วยให้การเคลื่อนไหวง่ายขึ้น
        การใช้เข็มขัดหรือเบรซ: เพื่อช่วยพยุงข้อเข่าและลดการเคลื่อนไหวที่อาจทำให้เกิดความเจ็บปวด
การรักษาข้อเข่าเสื่อมหรือรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมจะต้องพิจารณาจากหลายๆ ด้านร่วมกัน รวมถึงอาการ อายุ ระดับความเสียหายของข้อ และกิจกรรมที่ผู้ป่วยต้องการกลับมาทำได้ การปรึกษาแพทย์เพื่อวางแผนการรักษาที่เหมาะสมจึงเป็นสิ่งจำเป็น การตรวจรักษาและปรึกษาแพทย์เป็นประจำจะช่วยให้สามารถติดตามและจัดการกับอาการของโรคข้อเข่าเสื่อมได้ดีขึ้น และหากต้องการใช้วิธีการรักษาใดๆ ควรปรึกษาแพทย์เพื่อวางแผนการรักษาที่เหมาะสมที่สุดให้แก่ตัวเอง
0 notes
bonefit-rehab · 7 months
Text
ขั้นตอนการรักษาข้อเข่าเสื่อม
การ รักษาอาการข้อเข่าเสื่อม โดยไม่ต้องผ่าตัดเป็นแนวทางที่มุ่งเน้นที่ความรุนแรงของอาการและปรับปรุงฟังก์ชันข้อเข่า นี้เป็นแนวทางที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัยที่ช่วยลดอาการปวดและเสริมสุขภาพข้อเข่า:
https://bonefit-rehab.com/
1. กายภาพบำบัดและฝึกซ้อม
รักษาอาการเข่าเสื่อม ไม่อยากผ่าตัดต้องฟังคลิปนี้!! | Bonefit rehab คลินิครักษาข้อเข่าเสื่อม…
Bonefit rehab คลินิครักษาข้อเข่าเสื่อม รักษาอาการปวดเข่า รักษาอาการเข่าเสื่อม ไม่อยากผ่าตัดต้องฟังคลิปนี้!!
bonefit-rehab.com
การฝึกซ้อมทางกายภาพ:
ปฏิบัติการเสริมกล้ามเนื้อ: การฝึกซ้อมเพื่อเสริมกล้ามเนื้อที่รอบข้อเข่าช่วยลดการกดทับที่ข้อเข่า.
การฝึกซ้อมทางการกายภาพบำบัด: โปรแกรมการฝึกซ้อมที่มีประสิทธิภาพที่ได้รับคำแนะนำจากนักกายภาพบำบัด.
2. การบริหารจัดการอาหาร
อาหารที่เหมาะสม:
การควบคุมน้ำหนัก: ควรรักษาน้ำหนักที่เหมาะสมหรือลดน้ำหนักหากมีน้ำหนักเกิน.
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์: อาหารที่เสริมสร้างกระดูกและเสริมสร้างกล้ามเนื้อ.
3. การใช้ยาและการรักษาทางยา
ยาต้านอักเสบ:
NSAIDs: ใช้เพื่อลดการอักเสบและปวดที่ข้อเข่า.
ยาแก้ปวด: ในกรณีที่ต้องการการควบคุมปวดเพิ่มเติม.
4. การใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
ไม้เท้าหรือเสาเท้า:
ช่วยในการรักษาสมดุล: ช่วยในการเดินและลดน้ำหนักที่ข้อเข่า.
5. การติดตามและประเมินผล
การติดตามอาการ:
การรายงานอาการ: ประชาสัมพันธ์อาการกับทีมการรักษา.
การตรวจสุขภาพเป็นระยะ: เพื่อประเมินความก้าวหน้าและปรับแผนการรักษาตามความเหมาะสม.
การ รักษาอาการข้อเข่าเสื่อม โดยไม่ต้องผ่าตัดเป็นการดูแลรักษาที่มุ่งเน้นที่การปรับปรุงคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย การรับคำปรึกษาจากทีมแพทย์และนักกายภาพบำบัดเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้การรักษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ.
https://bonefit-rehab.com/
0 notes
vape123us · 5 months
Text
ขั้นตอนการรักษาข้อเข่าเสื่อมอย่างง่ายๆ
 ด้วยวิวัฒนาการทางการแพทย์ที่ก้าวไกล ทำให้ผู้ป่วยมีทางเลือกในการ รักษาอาการข้อเข่าเสื่อม ด้วยวิธีต่างๆ มากขึ้น เช่น ฉีดน้ำเลี้ยงข้อเข่าเทียม ฉีดด้วยเกล็ดเลือดเข้มข้น การผ่าตัดส่องกล้อง และการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมบางส่วน การควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม ปรับไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิต เลือกออกกำลังกายที่เหมาะกับวัยและสภาพของข้อเข่า หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่มีการปะทะหรือมีแรงกระแทกต่อข้อเข่า จะช่วยลดและชะลอปัญหาข้อเข่าเสื่อมได้ การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม (Arthroplasty) เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ช่วยลดอาการปวด เพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับผู้ป่วยที่มีอาการข้อเข่าเสื่อมได้ หลังจากผ่าตัดสามารถใช้ข้อเข่าเทียมไปได้อีก 10-20 ปี โอกาสที่จะต้องผ่าตัดซ้ำเกิดขึ้นน้อยมาก โดยปกติแล้ว อาการของโรคข้อเข่าเสื่อมสามารถบรรเทาลงได้ แม้ว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นกับข้อเข่าจะไม่สามารถรักษาให้คืนกลับไปสภาพเดิมได้ก็ตาม ซึ่งวิธีการดูแลเพื่อบรรเทาอาการของโรคนี้นั้นมีหลายระดับ สิ่งที่ทำได้โดยผู้ป่วยเอง เช่น การออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง การควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในระดับที่สมดุลตามคำแนะนำของแพทย์ หรือหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่มีการกระแทก สิ่งเหล่านี้คือตัวช่วยชะลอการลุกลามของโรคข้อเข่าเสื่อมไม่ให้รุนแรงกว่าเดิม และช่วยลดอาการปวดของผู้ป่วยได้ แต่หากอาการปวดเข่านั้นยังไม่บรรเทาลง ควรรีบมาพบแพทย์ วิธีรักษาข้อเข่าเสื่อมที่เหมาะสม เมื่อแพทย์ประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมแล้ว จะแนะนำวิธีการรักษาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับระดับความรุนแรงของโรคของผู้ป่วยเอง 
โดยจะพิจารณาการรักษาแตกต่างกันเป็นรายบุคคลไป เนื่องจากผู้ป่วยแต่ละรายมีข้อบ่งชี้และข้อจำกัดที่ไม่เหมือนกัน 
1. การปรับพฤติกรรมและการออกกำลังกาย เพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อต้นขาและกล้ามเนื้อรอบข้อเข่า เพราะกล้ามเนื้อที่แข็งแรงจะช่วยพยุงข้อเข่า และถ่ายเทน้ำหนักจากข้อเข่ามาที่กล้ามเนื้อได้ดี ทำให้ข้อเข่าไม่ต้องรับน้ำหนักมากจนเกินไป แนะนำให้ผู้สูงวัยออกกำลังกายประเภทที่มีแรงกระแทกต่อข้อเข่าน้อย (Low-Impact Exercise) เช่น ว่ายน้ำ การปั่นจักรยานอยู่กับที่ การเต้นแอโรบิกที่ไม่มีท่ากระโดด การเต้นแอโรบิกในน้ำ หรือการเดิน เป็นต้น แต่หากท่านยังอายุไม่มากนัก หรือออกกำลังกายเป็นประจำ ก็อาจจะเลือกเป็นการวิ่งจ๊อกกิ้ง การเดินเร็ว การเต้นแอโรบิกได้ หรือการออกกำลังแบบบอดี้เวทเทรนนิ่ง (Body Weight Training) คลิกดูตัวอย่างท่าออกกำลังกายเพื่อป้องกันอาการปวดเข่าได้ ที่นี่ 
2. การรักษาด้วยการใช้ยา วิธีนี้แพทย์จะพิจารณาให้ยาแก้ปวด ยาต้านการอักเสบ และ/หรือยาบำรุงข้อเข่าแก่ผู้ป่วย เช่น ยาพาราเซตามอล (Paracetamol) กลูโคซามีน(Glucosamine) ไดอะเซอรีน (Diacerein)  ยากลุ่มต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs) เป็นต้น เพื่อลดอาการปวดข้อเข่าที่รบกวนชีวิตประจำวันของผู้ป่วย อาจจะเป็นแบบเม็ด หรือแบบฉีดก็ได้ ทั้งนี้ อาจรวมไปถึงการฉีดคอร์ติโคสเตียรอยด์ในบางกรณีที่จำเป็น 3. การทำกายภาพบำบัด เพื่อบรรเทาอาการปวดบริเวณข้อเข่า เช่น การทำอัลตราซาวด์ การใช้เลเซอร์รักษา การรักษาด้วยคลื่นสั้น (Shortwave Therapy) การรักษาด้วยเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) การประคบด้วยแผ่นร้อนและแผ่นเย็น รวมถึงการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายของผู้ป่วยทั้งก่อนและหลังการผ่าตัด ซึ่งอาจรวมไปถึงการเสริมสร้างความแข็งแรงและเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อรอบข้อเข่าด้วยเช่นกัน 4. การรักษาทางชีวภาพ หรือ Biological Therapy ซึ่งเป็นเทคนิคทางการแพทย์ที่ใช้ในการรักษาอาการผิดปกติของกระดูกอ่อนและน้ำเลี้ยงข้อเข่า โดยสามารถทำได้โดยวิธีดังต่อไปนี้ 
4.1) การฉีดน้ำเลี้ยงข้อเข่าเทียม (Hyaluronic acid) ซึ่งทำหน้าที่คล้ายกับเป็นสารหล่อชนิดหนึ่งเข้าไป เพื่อบรรเทาอาการปวดและลดอาการฝืดตึงของข้อเข่า โดยมุ่งเน้นรักษาผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม ด้วยการเพิ่มน้ำหล่อลื่นและกระตุ้นสารตั้งต้นผิวข้อเข่า เหมาะกับผู้ป่วยที่มีอาการของโรคข้อเข่าเสื่อม และรักษาด้วยยาแล้วไม่หาย แต่ก็ยังไม่ได้อยู่ในระยะรุนแรงถึงขั้นต้องทำการผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเข่าเทียม ในด้านผลการรักษา จะเห็นผลจากประสิทธิภาพจริงที่ประมาณ 4-6 สัปดาห์ หรืออาจจะนานได้ถึง 6 เดือน ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรคเป็นรายๆ ไป แต่หากมีภาวะข้อเข่าเสื่อมมากๆ แล้วนั้น การรักษาอาจไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร นอกจากการใช้กับผู้ป่วยที่ยังไม่ได้รับการผ่าตัดแล้ว ยังสามารถใช้ร่วมกับการผ่าตัดผิวข้อเข่าเทียมได้ด้วย เพื่อช่วยปรับสมดุลน้ำในข้อเข่าหลังการผ่าตัดและช่วยฟื้นฟูผู้ป่วยให้สามารถกลับมาใช้ข้อเข่าที่บาดเจ็บได้เร็วขึ้น ทั้งนี้ เนื่องจากการรักษาด้วยวิธีนี้มีข้อบ่งชี้และข้อห้ามในการใช้อยู่ จึงควรปรึกษาแพทย์เฉพาะทางด้านกระดูกและข้อก่อนจะดีที่สุด 
4.2) การฉีด Platelet Rich Plasma (PRP) หรือสารสกัดเกล็ดเลือด จากเลือดของผู้ป่วยเองที่มีความเข้มข้นของ growth factor หรือสารที่ช่วยเร่งกระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อโดยธรรมชาติ ช่วยให้บริเวณที่มีการบาดเจ็บดีขึ้น เป็นวิธีที่ได้ผลดี ปลอดภัย มีประสิทธิภาพสูง และมีผลข้างเคียงต่ำ เนื่องจากเป็นสารสกัดจากเลือดของผู้ป่วยเอง เหมาะกับผู้ที่มีอาการข้อเข่าเสื่อม หรือมีการบาดเจ็บของเส้นเอ็นและกล้ามเนื้อบริเวณข้อเข่า สามารถเห็นผลของการรักษาได้ตั้งแต่ 4-6 สัปดาห์ขึ้นไป ทั้งนี้ เนื่องจากการรักษาด้วยวิธีนี้มีข้อบ่งชี้และข้อจำกัดอยู่ จึงควรปรึกษาแพทย์เฉพาะทางด้านกระดูกและข้อก่อนรับการรักษา 
5. การผ่าตัดโดยวิธีส่องกล้อง (Arthroscopic Surgery) คือ การผ่าตัดรูปแบบหนึ่งของการผ่าตัดแบบแผลเล็กเจ็บน้อย ซึ่งมีข้อดีคือแผลผ่าตัดมีขนาดเล็ก อีกทั้งยังไม่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บต่อกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อข้างเคียง ผู้ป่วยจึงฟื้นตัวไว ทำให้การดูแลหลังการผ่าตัด รวมถึงการทำกายภาพบำบัดทำได้ง่ายกว่าเดิม ส่งผลให้ผู้ป่วยสามารถกลับไปใช้ชีวิตตามปกติได้เร็วขึ้น การผ่าตัดส่องกล้องนั้นทำได้โดยใช้กล้องวิดีโอขนาดเล็กสอดเข้าไปในข้อเข่า และเชื่อมต่อสัญญาณเข้ากับจอภาพทีวี ทำให้เห็นส่วนต่างๆ ภายในข้อเข่าได้อย่างชัดเจน จึงช่วยให้แพทย์ทำการรักษาได้ง่ายขึ้น และรักษาได้ตรงจุดมากยิ่งขึ้น การผ่าตัดส่องกล้องนี้มักใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการของหมอนรองข้อเข่าฉีกขาด เอ็นข้อเข่าขาด กระดูกอ่อนแตก หรือข้อเข่าล็อค เป็นต้น การผ่าตัดส่องกล้องข้อเข่านั้นไม่ได้น่ากลัวแต่อย่างใด และยังช่วยตอบโจทย์ผู้คนในปัจจุบันมากขึ้น เพราะไลฟ์สไตล์ของผู้คนในยุคปัจจุบันนั้นมีความเร่งรีบ การหยุดงานหลายๆ วันหลังผ่าตัดข้อเข่าจึงไม่ใช่ทางเลือกที่ดีนัก อย่างไรก็ตาม สิ่งสำคัญที่ผู้ป่วยควรทำหลังผ่าตัดเลยก็คือ ต้องระมัดระวังและป้องกันตนเองอย่างดี ทำกิจกรรมต่างๆ ตามศักยภาพของตัวเองเท่าที่ทำได้ ไม่ออกกำลังกายหนักจนเกินไป และปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัด 
6. การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม (Arthroplasty) เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ช่วยลดอาการปวด เพิ่มช่วงการเคลื่อนไหวของข้อเข่า และเพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับผู้ป่วยที่มีอาการข้อเข่าเสื่อมได้ โดยแพทย์จะทำการผ่าตัดเอาพื้นผิวข้อเข่าที่เสียหายหรือเสื่อมสภาพออก แล้วแทนที่ด้วยชิ้นส่วนโลหะอัลลอยด์ และคั่นระหว่างโลหะด้วยแผ่นโพลีเอทิลีน ทั้งนี้ ก็มีโอกาสที่ข้อเข่าเทียมอาจจะมีสภาพสึกหรอในวันข้างหน้าและทำให้ต้องกลับมาผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมอีกครั้ง ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น การใช้ชีวิตหลังจากผ่าตัด เป็นต้น แต่จากงานวิจัยแล้ว สามารถใช้ข้อเข่าเทียมไปได้อีก 10-20 ปี และโอกาสที่จะต้องผ่าตัดซ้ำอีกครั้งนั้นเกิดขึ้นน้อยมาก ทั้งนี้ การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม ปัจจุบันทำได้ 2 วิธี ซึ่งแต่ละวิธีมีข้อบ่งชี้และข้อจำกัดแตกต่างกันออกไป คือ
 6.1 การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมทั้งหมด (Total Knee Arthroplasty: TKA) เป็นการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม โดยการผ่าตัดเอาผิวข้อเข่าส่วนที่เสียหรือเสื่อมสภาพออกทั้งหมด ทั้งส่วนปลายของกระดูกต้นขา (Femur) และส่วนบนของกระดูกหน้าแข้ง (Tibia) ทั้งฝั่งด้านในและด้านนอก (Medial and Lateral Compartment) แล้วแทนที่ด้วยผิวข้อเข่าเทียมที่ทำจากโลหะอัลลอยด์ครอบหรือคลุมกระดูกส่วนที่เฉือนออกไป และมีแผ่นโพลีเอทิลีนชนิดพิเศษกั้น 
6.2 การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมบางส่วน (Unicompartment Knee Arthroplasty: UKA) เป็นการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม โดยการผ่าตัดเอาผิวข้อเข่าเฉพาะส่วนที่เสียหายหรือเสื่อมสภาพออก นั่นคือเฉพาะฝั่งด้านในหรือด้านนอกเพียงด้านเดียว (Medial and Lateral Compartment) ผิวข้อเข่าที่เสื่อมจะถูกแทนที่ด้วยผิวโลหะอัลลอยด์ โดยมีแผ่นโพลีเอทิลีนซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวรองรับ แทนที่หมอนรองกระดูกเดิม กั้นระหว่างโลหะ วิธีนี้ถือเป็นนวัตกรรมใหม่และเป็นเทคโนโลยีการผ่าตัดแผลเล็ก ที่ช่วยเก็บผิวข้อเข่ารวมถึงเอ็นและเนื้อเยื่อเดิมที่ยังมีสภาพดีไว้ ทำให้เกิดความรู้สึก เสมือนธรรมชาติ หลังการผ่าตัด ซึ่งเป็นจุดเด่นสำคัญของการผ่าตัดด้วยวิธีนี้
 จะเห็นได้ว่าด้วยวิวัฒนาการและเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ก้าวไกล ทำให้ผู้ป่วยมีทางเลือกในการรักษาอาการข้อเข่าเสื่อมด้วยวิธีต่างๆ มากขึ้น โดยไม่จำเป็นต้องพึ่งการผ่าตัดเป็นทางออกเสมอไป อย่างไรก็ตาม การป้องกันและดูแลตัวเองก็ยังถือเป็นเรื่องที่สำคัญที่สุด ผู้ป่วยสามารถเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เพื่อควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม ปรับไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิตให้เหมาะกับสภาวะร่างกายของตนเอง ลดกิจกรรมที่ทำให้เกิดแรงกดและแรงกระแทกที่เข่า เช่น การนั่งคุกเข่า การนั่งยองๆ หรือการยกของหนัก เลือกออกกำลังกายที่เหมาะกับวัยและสภาพของข้อเข่า รวมถึงหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่มีการปะทะหรือมีแรกกระแทกต่อข้อเข่า โดยเฉพาะในผู้สูงอายุ ซึ่งมีโอกาสเกิดการบาดเจ็บต่อข้อเข่าได้มาก เพียงเท่านี้ก็สามารถถนอมข้อเข่าให้อยู่กับเราไปได้อีกนาน 
ขอบคุณเเหล่งที่มา เครดิตคอนเท้นท์ 
0 notes
vape123us · 6 months
Text
รักษาข้อเข่าเสื่อม: ศักราชใหม่ด้วยวิธีธรรมชาติและการดูแล
รักษาข้อเข่าเสื่อม: ศักราชใหม่ด้วยวิธีธรรมชาติและการดูแล
การ เสื่อมของข้อเข่า เป็นปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและผู้ที่มีการใช้น้ำหนักมาก โรคนี้ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและความสามารถในการเคลื่อนไหวของผู้ป่วย ด้วยความคืบหน้าในวิชาการและแนวทางการรักษาที่หลากหลาย การ รักษาข้อเข่าเสื่อม ได้รับความสนใจมากขึ้นในวันนี้.
#### การรักษาแบบธรรมชาติ
##### 1. การออกกำลังกาย
เลือกท่าออกกำลังกายที่เหมาะสมเพื่อเสริมสร้างกล้ามเนื้อรอบข้อเข่า ซึ่งช่วยเสริมแรงต้านและลดการกระทบของข้อเข่า
##### 2. การควบคุมน้ำหนัก
ลดน้ำหนักที่ไม่จำเป็นเพื่อลดภาระที่ต้องหยุ���ฉีกขา
##### 3. การดูแลรูปแบบการเคลื่อนไหว
เรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหวที่ถูกต้องเพื่อลดการกดทับที่ข้อเข่า
#### การรักษาแบบทางการแพทย์
##### 1. ยารักษาอาการ
การใช้ยาต้านอาการหรือยาแก้ปวดต่างๆ เพื่อลดอาการปวดและการอักเสบ
##### 2. การฉีดสารเสริมกระดูก
เพื่อเสริมความหนาแน่นของกระดูกและลดความเสียหายในกระดูก
##### 3. การผ่าตัด
กรณีที่รักษาทางทั่วไปไม่ได้ผลหรือเสียหายมาก อาจจำเป็นต้องพิจารณาการผ่าตัดเพื่อฟื้นฟูข้อเข่า
#### การดูแลรักษาต่อเนื่อง
##### 1. การทำกายภาพบำบัด
ฝึกฝนร่างกายและเพิ่มความยืดหยุ่นของข้อเข่า
##### 2. การใช้อุปกรณ์สนับสนุน
การใช้เครื่องมือเสริมสนับสนุน เช่น ไม้เท้าหรือคนเท้า เพื่อลดภาระของข้อเข่า
##### 3. การตรวจสอบประจำ
ตรวจสอบโดยแพทย์เป็นประจำเพื่อติดตามความคืบหน้าและปรับแผนรักษาต่อไป
การรักษาข้อเข่าเสื่อมต้องได้รับการตระหนักรู้และดูแลอย่างถูกต้อง ผลลัพธ์ที่ดีขึ้นมักเกิดขึ้นเมื่อมีการรักษาแบบผสมผสานระหว่างแนวทางธรรมชาติและการแพทย์.”
— -โรงพยาบาลที่รักษาข้อเข่าเสื่อม
ขออธิบายว่าในปัจจุบันที่ข้อมูลของฉันมีอยู่ถึงวันที่ 2022 การ รักษาข้อเข่าเสื่อม สามารถทำได้ที่หลายๆ โรงพยาบาลทั่วโลก ต่อไปนี้คือบางโรงพยาบาลที่มีชื่อเสียงในการ รักษาข้อเข่าเสื่อม :
1. **โรงพยาบาลกรุงเทพ (Bumrungrad International Hospital) — กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย**
- เป็นโรงพยาบาลเอกชนที่ให้บริการทางการแพทย์อย่างครบวงจร มีทีมแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญในการรักษาข้อเข่าเสื่อม.
2. **Mayo Clinic — มินนิแซโตา, สหรัฐอเมริกา**
- Mayo Clinic เป็นสถาบันการแพทย์ที่มีเสถียรภาพและมีทีมแพทย์ที่เชี่ยวชาญในการรักษาโรคต่างๆ รวมทั้งโรคข้อเข่า.
3. **Hospital for Special Surgery (HSS) — นิวยอร์ก, สหรัฐอเมริกา**
- เป็นโรงพยาบาลที่เน้นการรักษาโรคระดับสูง มีทีมแพทย์ที่เชี่ยวชาญในด้านการรักษาข้อเข่า.
4. **Singapore General Hospital (SGH) — สิงคโปร์**
- SGH เป็นโรงพยาบาลราชการที่มีความเชี่ยวชาญในการรักษาโรคต่างๆ รวมถึงโรคข้อเข่า.
5. **St. Michael’s Hospital — โตรอนโต, แคนาดา**
- โรงพยาบาลนี้มีทีมแพทย์ที่เชี่ยวชาญในการรักษาและผ่าตัดข้อเข่า.
ควรทราบว่าการเลือกโรงพยาบาลที่เหมาะสมต้องพิจารณาจากตัวบริการทางการแพทย์, ความเชี่ยวชาญของทีมแพทย์, และรีวิวจากผู้รักษาอื่นๆ ที่ได้รับการรักษามาก่อน. การปรึกษากับแพทย์เพื่อขอคำแนะนำเป็นขั้นตอนที่ดีเสมอ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เหมาะสมสำหรับสถานการณ์และความต้องการของบุคคล.
0 notes
vape123us · 7 months
Text
ขั้นตอนการรักษาข้อเข่าเสื่อม
เรื่องสุขภาพเป็นเรื่องที่ดีมากๆเลยนะครับ เพราะว่าข้อเข่าเสื่อมเป็นเรื่องที่หลายยต่อหลายคนนั้นจะต้องเจอกันปัญหานี้อย่างเเน่นอน
ลองอ่านที่นี้ได้ครับ เพราะว่าการ ที่เราต้้องการรักษาข้อเข่าเสื่อมนั้นส่วนมาเราจะใช้การผ่าตัดในการรักษาข้อเข่าเสื่อม
ศูนย์รักษาข้อเข่าเสื่อม แบบไม่ผ่าตัด โดยแพทย์เฉพาะทาง
โรคข้อเข่าเสื่อม (Knee Osteoarthritis) คือ ภาวะที่ข้อเข่าเกิดการเสื่อมสภาพ ส่งผลให้กระดูกอ่อนผิวข้อ (Articular Cartilage) เกิดการสึกกร่อนทำให้กระดูกอ่อนไม่สามารถรองน้ำหนักได้ดีเหมือนเช่นเดิม และมีการสูญเสียน้ำเลี้ยงข้อเข่า ส่งผลให้เกิดมีเสียงดังในข้อ หรือ มีอาการปวด อักเสบ บวม แดง
ซึ่งหากอาการข้อเข่าเสื่อมอยู่ในระยะที่ 1–3 คนไข้สามารถเข้ารับการดูแลและรักษาข้อเข่าเสื่อมในระดับเซลล์ โดยเทคโนโลยีชีวโมเลกุลสร้างเนื้อเยื่อกระดูกอ่อน หรือ Cartilage Tissue Biomolecule Program (CTB Program ) เพื่อซ่อมแซมผิวข้อที่สึกไป โดยไม่ต้องผ่าตัดได้
ด้วยประสบการณ์การรักษามามากกว่า 10 ปี ทางโบนฟิท คลินิก ได้ใช้วิธีนี้ในการรักษาคนไข้ที่มีอาการข้อเข่าเสื่อม เพื่อลดโอกาสการผ่าตัดข้อเข่าเทียม หรือ ลดอาการปวด อาการอักเสบได้เป็นอย่างดี
“ ปลอดภัย ไม่ต้องใช้ยา ไม่เจ็บ ไม่ต้องผ่าตัด ไม่ต้องพักฟื้น สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้ตามปกติตลอดโปรแกรมการรักษา ”
รู้จักกับหมอที่รักษาข้อเข่าเสื่อม
ลองอ่านที่นี้ได้ครับ
รักษาข้อเข่าเสื่อม
รักษาอาการข้อเข่าเสื่อม
การรักษาข้อเข่าเสื่อม
https://bonefit-rehab.com/
0 notes
suckseed20 · 2 months
Text
ศูนย์รักษาข้อเข่าเสื่อม แบบไม่ผ่าตัด โดยแพทย์เฉพาะทาง
โรคข้อเข่าเสื่อม (Knee Osteoarthritis) คือ ภาวะที่ข้อเข่าเกิดการเสื่อมสภาพ ส่งผลให้กระดูกอ่อนผิวข้อ (Articular Cartilage) เกิดการสึกกร่อนทำให้กระดูกอ่อนไม่สามารถรองน้ำหนักได้ดีเหมือนเช่นเดิม และมีการสูญเสียน้ำเลี้ยงข้อเข่า ส่งผลให้เกิดมีเสียงดังในข้อ หรือ มีอาการปวด อักเสบ บวม แดง
ซึ่งหากอาการข้อเข่าเสื่อมอยู่ในระยะที่ 1 – 3 คนไข้สามารถเข้ารับการดูแลและรักษาข้อเข่าเสื่อมในระดับเซลล์ โดยเทคโนโลยีชีวโมเลกุลสร้างเนื้อเยื่อกระดูกอ่อน หรือ Cartilage Tissue Biomolecule Program (CTB Program ) เพื่อซ่อมแซมผิวข้อที่สึกไป โดยไม่ต้องผ่าตัดได้
ด้วยประสบการณ์การรักษามามากกว่า 10 ปี ทางโบนฟิท คลินิก ได้ใช้วิธีนี้ในการรักษาคนไข้ที่มีอาการข้อเข่าเสื่อม เพื่อลดโอกาสการผ่าตัดข้อเข่าเทียม หรือ ลดอาการปวด อาการอักเสบได้เป็นอย่างดี
ข้อเข่าเสื่อม ขั้นตอนการรักษาข้อเข่าเสื่อม
การ รักษาข้อเข่าเสอื่ม
0 notes
vape123us · 5 months
Text
ขั้นตอนการรักษาข้อเข่าเสื่อม
0 notes
vape123us · 5 months
Text
ขั้นตอนการรักษาข้อเข่าเสื่อม
การ รักษาข้อเข่าที่เสื่อม จะขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของปัญหาและสาเหตุที่ทำให้เกิดเสื่อมนั้น อย่างไรก็ตาม, นี่คือบางวิธีทั่วไปที่สามารถใช้ในการ รักษาข้อเข่าเสื่อม :
1. **พักผ่อนและการป้องกันกิจกรรมที่ทำให้เสื่อมและเจ็บ:**
   - ลดหรือหยุดกิจกรรมที่ทำให้เสื่อมและเจ็บ ให้เวลาในการพักผ่อนและฟื้นตัว
2. **ทดแทนการใส่รองเท้า:**
   - เลือกรองเท้าที่มีระบบสนับสนุนที่ดี เช่น รองเท้าที่มีแผ่นเสริมที่ช่วยรักษาการกระจายน้ำหนัก
3. **ฟื้นฟูกล้ามเนื้อรอบข้อเข่า:**
   - ทำกิจกรรมที่เสริมความแข็งแรงของกล้ามเนื้อรอบข้อเข่า เช่น ฝึกยืดและฟื้นฟูกล้ามเนื้อต่าง ๆ ที่มีบทบาทในการสนับสนุนข้อเข่า
4. **การใช้ร้อยเยียมหรือการสนับสนุน:**
   - การใส่ร้อยเยียมหรือการสนับสนุนที่ถูกออกแบบมาเพื่อลดแรงกดที่ข้อเข่า
5. **รักษาด้วยน้ำร้อนและน้ำเย็น:**
   - การประยุกต์ใช้น้ำร้อนหรือน้ำเย็นสามารถช่วยลดอาการบวมและเจ็บปวดได้
6. **การทายาและการใช้ยา:**
   - การใช้ยาต้านปวดหรือยาต้านการอักเสบตามคำแนะนำของแพทย์
7. **ฝังเข็มศัลยกรรม:**
   - กรณีที่อาการไม่ดีขึ้น, แพทย์อาจพิจารณาการทำฝังเข็มศัลยกรรมเพื่อลดอาการเจ็บปวด
8. **ศัลยกรรม:**
   - กรณีที่การรักษาทางonservativeไม่ได้ผล, แพทย์อาจพิจารณาศัลยกรรมเพื่อซ่อมแซมหรือแทนที่ข้อเข่า
หากคุณมีปัญหาเกี่ยวกับข้อเข่า, ควรพบแพทย์เพื่อการวินิจฉัยและรับคำแนะนำที่เหมาะสมต่อสภาพการเจ็บปวดของคุณ.
0 notes
bonefit-rehab · 10 months
Text
ขั้นตอนการรักษาข้อเข่าเสื่อม
ขั้นตอนการรักษาข้อเข่าเสื่อม 
       การดูแลและรักษาข้อเข่าเสื่อมอาจประกอบด้วยหลากหลายวิธี ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของอาการและสภาพของข้อเข่าของแต่ละบุคคล นี่คือบางข้อแนะนำที่อาจช่วยในการดูแลและรักษาข้อเข่าเสื่อม:
การควบคุมน้ำหนัก: หากคุณมีน้ำหนักเกินหรืออ้วน การลดน้ำหนักอาจช่วยลดความกดทับที่ข้อเข่า และบรรเทาอาการข้อเข่าเสื่อม ควรคำนึงถึงการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และการออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพใจและร่างกาย
กายภาพบำบัดและการฝึกซ้อม: การรับการกายภาพบำบัดจากนักกายภาพบำบัดช่วยเสริมสร้างกล้ามเนื้อและเสริมความแข็งแรงของเข่า ทำให้ความยืดหยุ่นของข้อเข่าดีขึ้น การฝึกซ้อมอย่างเหมาะสมเพื่อเสริมสร้างกล้ามเนื้อต้นขา ส่งผลให้เกิดการส่งน้ำเลือดไปยังเข่าอย่างดี
การใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน: หากคุณมีการควบคุมการเดินที่ไม่ดีเนื่องจากอาการข้อเข่าเสื่อม การใช้เสาเท้าหรืออุปกรณ์ช่วยเดินอาจช่วยลดการกดทับที่ข้อเข่าและช่วยควบคุมการเดินให้มีความสมดุล
การนวดและบำบัดเสริม: การนวดและบำบัดเสริมที่มีเชิงกายภาพอาจช่วยลดอาการอักเสบและปวดที่ข้อเข่า และช่วยเพิ่มการไหลเวียนของโลหิตในพื้นผิวของข้อเข่า
การรับประทานยา: การใช้ยาต้านอักเสบ (nonsteroidal anti-inflammatory drugs: NSAIDs) หรือยาแก้ปวดที่สั่งจากแพทย์เพื่อควบคุมอาการปวดและอาการอักเสบที่ข้อเข่า ควรปฏิบัติตามคำแนะนำในการใช้ยาและห้ามใช้ยาเกินปริมาณที่กำหนด
การศึกษาตัวอย่างโดยใช้เข่าเทียม: ในกรณีที่ข้อเข่าเสื่อมรุนแรงและไม่ดีขึ้นด้วยการรักษาอื่นๆ อาจมีคำแนะนำให้พิจารณาทำศัลยกรรมเพื่อซ่อมแซมหรือแทนที่ข้อเข่าด้วยข้อเข่าเทียม
การดูแลส่วนตัว: ควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้ข้อเข่าต้องรับน้ำหนักหนักหรือเคลื่อนไหวมากๆ และระวังท่าทางที่ไม่ถูกต้องที่อาจทำให้ข้อเข่าเสื่อมรุนแรงขึ้น
สุดท้าย หากคุณมีอาการเจ็บปวดหรือก่อนหน้านี้คุณได้รับการวินิจฉัยว่ามีข้อเข่าเสื่อม ควรปรึกษาแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์เพื่อรับคำแนะนำและการวินิจฉัยที่แท้จริงสำหรับสภาพของข้อเข่าของคุณและแนวทางการรักษาที่เหมาะสม
ขั้นอนการรักษาข้อเข่าเสื่อมง่ายๆ สำหรับคนที่ต้องการดูเเลรักษาข้อเข่าเสื่อม 
0 notes
bonefit-rehab · 10 months
Text
ขั้นตอนการรักษาข้อเข่าเสื่อม
หากมีอาการปวดเข่า ปวดข้อ ควรปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิต ซึ่งส่วนหนึ่งก็คือการปรับการกินอาหาร
การเลือกรับประทานอาหารก็ช่วยบำรุงกระดูกและข้อให้อย่างน้อยก็เสื่อมช้าลงได้ 
Tumblr media
น้ำเต้าหู้
     มีโปรตีนจากถั่วเหลือง มีสารไอโซฟลาโวน ที่มีผลต่อกระบวนการสร้าง หรือสลายกระดูกในผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน ช่วยเพิ่มปริมาณวิตามินดี และช่วยลดการสลายของมวลกระดูก
Tumblr media
น้ำฝรั่ง
     มีวิตามินซีสูง ช่วยให้ร่างกายต้านทานโรคติดเชื้อได้ดี ทำให้บาดแผลหายเร็วและการประสานของกระดูกที่หักให้ดีขึ้น 
https://bonefit-rehab.com/wp-content/uploads/2023/06/4-3.jpg
น้ำงาดำ
     งาดำมีแคลเซียมมากกว่าในนมวัวถึง 6 เท่า ดีต่อระบบประสาท ช่วยในการนอนหลับได้ดี สามารถป้องกันโรคเหน็บชา และช่วยบำรุงกระดูก
Tumblr media
น้ำขิง
     ช่วยบรรเทาอาการปวด  และลดการอักเสบภายในร่างกายช่วยให้อาการปวดเข่า  ปวดข้อดีขึ้น
0 notes